Category Archives: Coding

Bit-Byte หน่วยข้อมูลจิ๋วของคอมพิวเตอร์

Bit และ Byte เป็นหน่วยข้อมูลพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยให้เราเข้าใจในการทำงานของเทคโนโลยีดิจิทัลได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

Programming concept กลไกสำคัญของการเรียนรู้โค้ดดิ้ง

Programming Concept คือก้าวแรกสู่การเป็นนักพัฒนาโปรแกรมมืออาชีพ ช่วยในการเขียนโปรแกรม และนำไปประยุกต์ใช้กับภาษาโปรแกรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Algorithm ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบเพื่อเติบโตในโลกอนาคต

Algorithm คือ ชุดของคำสั่งหรือขั้นตอนอย่างเป็นลำดับที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือดำเนินการบางอย่าง คำสั่งเหล่านี้จะต้องเป็นไปอย่างชัดเจน

Flow chart คืออะไร? ทำไมสำคัญกับโค้ดดิ้ง

Flow chart หรือ ผังงาน คือ แผนภูมิที่แสดงลำดับขั้นตอนของกระบวนการ โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เชื่อมต่อกัน ช่วยให้เข้าใจขั้นตอน วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น

ทำความรู้จัก PEMDAS: ลำดับการคำนวณทางคณิตศาสตร์

PEMDAS หรือลำดับของเครื่องหมายในการคำนวณตัวเลข ช่วยให้เข้าใจวิธีการแก้โจทย์ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ

20 ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง

"20 ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง" ที่จะช่วยปูพื้นฐานความรู้และสร้างความคุ้นเคยกับคำศัพท์สำคัญต่างๆ ในโลกของการเขียนโปรแกรม

Block-based programming ภาษาโค้ดดิ้งเป็นมิตรสำหรับทุกคน

Block-based programming คือ การเขียนโปรแกรมด้วยบล๊อก (block) หรือกล่องคำสั่ง โดยการลากและวางบล็อกคำสั่งต่างๆ ลงในพื้นที่การทำงาน เป็นวิธีการเขียนโปรแกรมที่ใช้บล็อกที่มีสีสันแทนโค้ด  บล็อกแต่ละบล็อกมีหน้าที่เฉพาะ  เด็กๆ เพียงต่อบล็อกเข้าด้วยกันเหมือนต่อจิ๊กซอว์

ทำความรู้จัก Text-based & Block-based Programming

text-based programming และ block-based programming เป็นวิธีการเขียนโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพทั้งคู่ แต่มีมีจุดเด่นและข้อจำกัดแตกต่างกัน ดังนั้น การเลือกใช้วิธีการใดขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น วัตถุประสงค์ ผู้ใช้ และทรัพยากร ว่าวิธีการใดจะเหมาะสมกับความต้องการมากที่สุด

Programming Language ภาษาโปรแกรม-รากฐานแห่งโลกดิจิทัล

ภาษาโปรแกรมกลายเป็นเครื่องมืออันทรงพลังที่ช่วยให้มนุษย์สามารถสื่อสารกับเครื่องจักรและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ บนโลกดิจิทัลได้ เป็นภาษาที่ใช้สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ

แจกวิธีทำเกมไดโนเสาร์บน Scratch

เกมไดโนเสาร์ที่ทุกคนคุ้นเคย เปิดตัวในช่วงปี 2014 ที่มีจำนวนผู้ใช้งานกว่า 270 ล้านคนทั่วโลก และแน่นอนว่าเราสามารถใช้ Scratch ในการสร้างเกมไดโนเสาร์กระโดดได้เช่นกัน ทำยังไงมาดูกันได้เลยครับ